TUAN GURU HIJI ABDUL RAHMAN [ TOK DALA]
LATAR BELAKANG
Nama penuh HAJI ABDUL RAHMAN BIN MUHAMMAD IRSYAD, ayah beliau menrupakan seorang guru dalam bidang agama, ibu nama me’putih berasal dari pada kampong Saban. Datuk nama Abdul Ghani ber asal dari Terangganu, Malaysia.
Beliau lahir pada tahun 1898 di kampong tok bidang Dala,Yaring,Patani
Beliau menrupai anak yang pertama dari lima orang adik bradik
1. HAJI ABDUL RAHMAN [ TOK DALA ]
2. HAJI ABDUL SHOMAT
3. HAJI MUHAMMAD
4. HABIBAH
5. IDRIS
PENDIDIKKAN
Ayah beliau menrupakam tuan guru yang pertama yang beliau belajar selepas itu beliau terus blajar dengan TUAN GURU HAJI IDRIS[ PA’CU YEH ] Kampong Tok Raja Haji Yamu, selapas tamat balajar di pondak beliau terus sambung blajar di tanah suci Mekah dengan TUAN GURU SHEIKH DAWUD AL-FATANI DAN SHEIKH WAN ISMAAE BIN WAN IDRIS[ PADA AE ].
Selepas mereka balik daripada belajar ilmu di tanah suci Mekah, umur beliau 40 tahun, beliau berkahwin dengan seorang wanita yang bernama sarah binti haji idris, sarah merupakan anak perempuan bagi haji Idris Abdul karim guru beliau semasa belajar di Makkah
Kitab yang mereka selalu baca kepada belajar
Dusuki ,Kifayatul Ulum, Tahrim, Fathu Qarib, Fathu mu’ain, Al-Bahri,Fathu wahab, AL-‘Ikna’,Minhad Abidin,Hikam ibnu at’tailah, Tafsir Jalailen,
Beliau merupakan ulama yang fakar dalam ilmu Nahu, Zaraf iaitu kitab Mutammir. Al-fiah, Matan al-Jurumiah, dan Ibnu Aqil selain daripadanya beliau jaga membaca kitab yang di karangan oleh Ulama fatani yang terdahulu seperti kitab Bugiyatul Talab, Fari datul Al-faraid, Akidatul Al-Najin, Kaf Al-lisan dan sebagainya
sikap hidup beliau
Tuan guru Haji Abdul Rahman adalah seorang Guru yang bersifat rendah diri dan Warak kuat Ibadah dana banyak di kalangan murid beliau Berjaya dalam pengajian sehingga terkenal oleh manyarakat.
Beliau juga menjadi seorang guru yang kuat dalam hokum ahkam syariah seperti mana yang diriwayat seorang murid I iaitu ketika Haji Husen Jikdo datang daripada Kedah mensiarahi pondak
Haji Husen merupakan saudara mara rapat bagi Isteri tuan guru Abdul Rahman, selepas Sarah kahwin dengan tuk dala bediau tidak dapat jumpa muka Sarah lagi,melaikan boleh cakap di antara hijab sahaja sebab diantara Sarah denagan Haji Husen adalah bukan Mahram
selian dari pada sifat yang telah sebut iaitu
- Beliau suka nek kuda ,dalam jalanan tidak terlalu jauh beliau selalu nek kuda selan daripadanya beliau merupakan seorang yang lari laju, kebiasaan belajar pondak yang tidak hadir belajar tidak lepas daripada tangan beliau.
- Beliau suka pakai jubah sama ada masa duduk kt umah atau keluar dari umah
- Beliau sentisa manangis masa baca kitab tentang azab kubur
- Beliau seorang yang tidak cakap banyak dan masa beliau cakap,berhanti-hanti dalam cakapan.
- Beliau berhanti-hanti dalam Perkara Subha’
Murid-murid yang terkenal oleh masyarakat
- Haji Abdul Qadir Wangah[ tuk dey sekam ]
- Haji Abdul Hamid Namba
- Haji Abdulla Sarah [pondak benang padang]
- Haji Abdullah Marbawi Yaha
- Hiji Ismaae Marbawi Yaha
- Haji Abdul Hamid telaga Sembilan
- Haji yusuf tan yung palas
beliau kembali kepada Rahmat Allah pada pagi Rabu 28 Rajab 1975
1. ชื่อเต็ม และสถานที่เกิด หะญีอับดุลเราะห์มาน บิน มุหัมมัดอิรชาด บิดาของท่านชื่อว่า มุหัมมัดอิรชาด เป็นโต๊ะครูสอนศาสนา ส่วนมารดาชื่อ แมะปูเต๊ะ เดิมมาจากบ้านสาบัน ส่วนปู่ของท่านชื่อว่า อับดุลฆอนี กล่าวกันว่าอพยพมาจากตรังกานู (ประเทศมาเลเซียในปัจจุบัน) ท่านเกิดที่บ้านโต๊ะบีดัน ดาลอ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ในปี ค.ศ. 1898
โต๊ะครูดาลอเป็นลูกคนแรก โดยมีพี่น้องทั้งหมด 5 คน ส่วนพี่น้องของท่านคือ หัจญีอับดุลสอมัด หัจญีมุหัมมัด หะบีบะฮ์ และอิดรีส
2. การศึกษาได้รับการศึกษาเบื้องต้นจากบิดาของท่านเอง จากนั้นศึกษาต่อกับโต๊ะครูหะญีอิดรีส (ปะจูเยะห์) บ้านโต๊ะราญอ หะญี ยามู หลังจากจบจากปอเนาะดังกล่าวแล้ว จึงเดินทางศึกษาต่อที่นครมักกะห์ โต๊ะครูของท่านได้แก่ เช็ควันดาวูด บิน วันมุสตอฟา เช็ควันอิสมาแอล บิน วันอับดุลกอดีร์ (ปะดอแอ) เป็นต้น ไม่มีแหล่งบ่งบอกชัดเจนว่าท่านอยู่ที่นคร มักกะห์นานเท่าใด และกลับมาปัตตานีเมื่ออายุเท่าใด
บางท่านเล่าว่า ขณะที่ท่านเดินทางกลับปัตตานีท่านมีอายุราว ๆ 40 ปี
หลังจากกลับมาปัตตานีท่านจึงเข้าสู่พิธีแต่งงาน ภรรยาคนที่หนึ่งชื่อว่า ซาเราะฮ์ บินติ หัจญีอิดรีส เป็นธิดาของหัจญีอิดรีส อับดุลการีม อาจารย์ของท่านขณะอยู่ที่นครมักกะฮ์ ส่วนสถานที่ที่ท่านเข้าสู่พิธีแต่งงานคือ บ้านตะโล๊ะกาโปร์ ยะหริ่ง
3. เปิดปอเนาะตอนที่ท่านได้เข้าสู่พิธีแต่งงาน ท่านได้สร้างที่อยู่อาศัยและปอเนาะดาลอแล้ว บางครั้งเป็นที่รู้จักในนามปอเนาะ ?จืองา บูลู? หลังจากแต่งงานเสร็จ ท่านจึงย้ายไปอยู่ที่ดาลอ ตั้งแต่บัดนั้น ท่านจึงทุ่มเทแรงกายแรงใจบนเส้นทางที่ท่านเลือกไว้ นั่นคือ การเป็นโต๊ะครูปอเนาะ ไม่ปรากฏหลักฐานระบุชัดว่า ปอเนาะแห่งนี้ถูกเปิดตั้งแต่เมื่อใด และไม่มีหลัก ฐานชี้ชัดว่าขณะที่ท่านเปิดปอเนาะนั้น อายุของท่านเท่าใด แต่หากยึดอายุของการแต่งงาน และยึดระยะเวลาที่ท่านกลับมาจากนครมักกะฮ์แล้ว อายุของท่านน่าจะราว ๆ 40 ปี
โต๊ะครูดาลอเป็นลูกคนแรก โดยมีพี่น้องทั้งหมด 5 คน ส่วนพี่น้องของท่านคือ หัจญีอับดุลสอมัด หัจญีมุหัมมัด หะบีบะฮ์ และอิดรีส
2. การศึกษาได้รับการศึกษาเบื้องต้นจากบิดาของท่านเอง จากนั้นศึกษาต่อกับโต๊ะครูหะญีอิดรีส (ปะจูเยะห์) บ้านโต๊ะราญอ หะญี ยามู หลังจากจบจากปอเนาะดังกล่าวแล้ว จึงเดินทางศึกษาต่อที่นครมักกะห์ โต๊ะครูของท่านได้แก่ เช็ควันดาวูด บิน วันมุสตอฟา เช็ควันอิสมาแอล บิน วันอับดุลกอดีร์ (ปะดอแอ) เป็นต้น ไม่มีแหล่งบ่งบอกชัดเจนว่าท่านอยู่ที่นคร มักกะห์นานเท่าใด และกลับมาปัตตานีเมื่ออายุเท่าใด
บางท่านเล่าว่า ขณะที่ท่านเดินทางกลับปัตตานีท่านมีอายุราว ๆ 40 ปี
หลังจากกลับมาปัตตานีท่านจึงเข้าสู่พิธีแต่งงาน ภรรยาคนที่หนึ่งชื่อว่า ซาเราะฮ์ บินติ หัจญีอิดรีส เป็นธิดาของหัจญีอิดรีส อับดุลการีม อาจารย์ของท่านขณะอยู่ที่นครมักกะฮ์ ส่วนสถานที่ที่ท่านเข้าสู่พิธีแต่งงานคือ บ้านตะโล๊ะกาโปร์ ยะหริ่ง
3. เปิดปอเนาะตอนที่ท่านได้เข้าสู่พิธีแต่งงาน ท่านได้สร้างที่อยู่อาศัยและปอเนาะดาลอแล้ว บางครั้งเป็นที่รู้จักในนามปอเนาะ ?จืองา บูลู? หลังจากแต่งงานเสร็จ ท่านจึงย้ายไปอยู่ที่ดาลอ ตั้งแต่บัดนั้น ท่านจึงทุ่มเทแรงกายแรงใจบนเส้นทางที่ท่านเลือกไว้ นั่นคือ การเป็นโต๊ะครูปอเนาะ ไม่ปรากฏหลักฐานระบุชัดว่า ปอเนาะแห่งนี้ถูกเปิดตั้งแต่เมื่อใด และไม่มีหลัก ฐานชี้ชัดว่าขณะที่ท่านเปิดปอเนาะนั้น อายุของท่านเท่าใด แต่หากยึดอายุของการแต่งงาน และยึดระยะเวลาที่ท่านกลับมาจากนครมักกะฮ์แล้ว อายุของท่านน่าจะราว ๆ 40 ปี
ตำราที่ท่านมักใช้สอนนักเรียนได้แก่ ดุสุกีย์ และกิฟายะตุลอุลูม ในสาขาวิชาฟิกฮ์ได้แก่ ตะห์รีม ฟัตหุลเกาะรีบ, ฟัตหุล มุอีน, อัลบาญูรีย์, ฟัตหุล วะหาบ และอัลอิกนาอ์ ในสาขาวิชาตะเซาวุฟ ท่านสอนกิตาบ มินฮาจญ์ อัลอาบิดีน, หิกาม อิบนุ อะเตาะอ์ นอกจากนั้นท่านยังได้สอนตัฟซีรญะลาลัยน์ และตำราหะดีษอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง
ส่วนตำราอื่น ๆ ที่ถือว่าท่านมีความชำนาญในสาขาวิชานะห์วุ และศอร็อฟ กล่าวคือ มุตัมมิมะฮ์, อัลฟิยะฮ์, มะตัน อัจญ์รูมิยะฮ์, และอิบนุ อากิล นอกจากนั้นท่านได้สอนกิตาบยาวีที่เขียนโดยอุละมาอ์ปัตตานี อันได้แก่ บุฆยาต อัลตุลลาบ, ฟารีดะฮ์ อัล ฟารออิด, อะกีดะฮ์ อัลนาญีน, กัชฟ์ อัลลิซาน อื่น ๆ เป็นต้น
ส่วนตำราอื่น ๆ ที่ถือว่าท่านมีความชำนาญในสาขาวิชานะห์วุ และศอร็อฟ กล่าวคือ มุตัมมิมะฮ์, อัลฟิยะฮ์, มะตัน อัจญ์รูมิยะฮ์, และอิบนุ อากิล นอกจากนั้นท่านได้สอนกิตาบยาวีที่เขียนโดยอุละมาอ์ปัตตานี อันได้แก่ บุฆยาต อัลตุลลาบ, ฟารีดะฮ์ อัล ฟารออิด, อะกีดะฮ์ อัลนาญีน, กัชฟ์ อัลลิซาน อื่น ๆ เป็นต้น
1. ชื่อเต็ม และสถานที่เกิด หะญีอับดุลเราะห์มาน บิน มุหัมมัดอิรชาด บิดาของท่านชื่อว่า มุหัมมัดอิรชาด เป็นโต๊ะครูสอนศาสนา ส่วนมารดาชื่อ แมะปูเต๊ะ เดิมมาจากบ้านสาบัน ส่วนปู่ของท่านชื่อว่า อับดุลฆอนี กล่าวกันว่าอพยพมาจากตรังกานู (ประเทศมาเลเซียในปัจจุบัน) ท่านเกิดที่บ้านโต๊ะบีดัน ดาลอ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ในปี ค.ศ. 1898
โต๊ะครูดาลอเป็นลูกคนแรก โดยมีพี่น้องทั้งหมด 5 คน ส่วนพี่น้องของท่านคือ หัจญีอับดุลสอมัด หัจญีมุหัมมัด หะบีบะฮ์ และอิดรีส
2. การศึกษาได้รับการศึกษาเบื้องต้นจากบิดาของท่านเอง จากนั้นศึกษาต่อกับโต๊ะครูหะญีอิดรีส (ปะจูเยะห์) บ้านโต๊ะราญอ หะญี ยามู หลังจากจบจากปอเนาะดังกล่าวแล้ว จึงเดินทางศึกษาต่อที่นครมักกะห์ โต๊ะครูของท่านได้แก่ เช็ควันดาวูด บิน วันมุสตอฟา เช็ควันอิสมาแอล บิน วันอับดุลกอดีร์ (ปะดอแอ) เป็นต้น ไม่มีแหล่งบ่งบอกชัดเจนว่าท่านอยู่ที่นคร มักกะห์นานเท่าใด และกลับมาปัตตานีเมื่ออายุเท่าใด
บางท่านเล่าว่า ขณะที่ท่านเดินทางกลับปัตตานีท่านมีอายุราว ๆ 40 ปี
หลังจากกลับมาปัตตานีท่านจึงเข้าสู่พิธีแต่งงาน ภรรยาคนที่หนึ่งชื่อว่า ซาเราะฮ์ บินติ หัจญีอิดรีส เป็นธิดาของหัจญีอิดรีส อับดุลการีม อาจารย์ของท่านขณะอยู่ที่นครมักกะฮ์ ส่วนสถานที่ที่ท่านเข้าสู่พิธีแต่งงานคือ บ้านตะโล๊ะกาโปร์ ยะหริ่ง
3. เปิดปอเนาะตอนที่ท่านได้เข้าสู่พิธีแต่งงาน ท่านได้สร้างที่อยู่อาศัยและปอเนาะดาลอแล้ว บางครั้งเป็นที่รู้จักในนามปอเนาะ ?จืองา บูลู? หลังจากแต่งงานเสร็จ ท่านจึงย้ายไปอยู่ที่ดาลอ ตั้งแต่บัดนั้น ท่านจึงทุ่มเทแรงกายแรงใจบนเส้นทางที่ท่านเลือกไว้ นั่นคือ การเป็นโต๊ะครูปอเนาะ ไม่ปรากฏหลักฐานระบุชัดว่า ปอเนาะแห่งนี้ถูกเปิดตั้งแต่เมื่อใด และไม่มีหลัก ฐานชี้ชัดว่าขณะที่ท่านเปิดปอเนาะนั้น อายุของท่านเท่าใด แต่หากยึดอายุของการแต่งงาน และยึดระยะเวลาที่ท่านกลับมาจากนครมักกะฮ์แล้ว อายุของท่านน่าจะราว ๆ 40 ปี
โต๊ะครูดาลอเป็นลูกคนแรก โดยมีพี่น้องทั้งหมด 5 คน ส่วนพี่น้องของท่านคือ หัจญีอับดุลสอมัด หัจญีมุหัมมัด หะบีบะฮ์ และอิดรีส
2. การศึกษาได้รับการศึกษาเบื้องต้นจากบิดาของท่านเอง จากนั้นศึกษาต่อกับโต๊ะครูหะญีอิดรีส (ปะจูเยะห์) บ้านโต๊ะราญอ หะญี ยามู หลังจากจบจากปอเนาะดังกล่าวแล้ว จึงเดินทางศึกษาต่อที่นครมักกะห์ โต๊ะครูของท่านได้แก่ เช็ควันดาวูด บิน วันมุสตอฟา เช็ควันอิสมาแอล บิน วันอับดุลกอดีร์ (ปะดอแอ) เป็นต้น ไม่มีแหล่งบ่งบอกชัดเจนว่าท่านอยู่ที่นคร มักกะห์นานเท่าใด และกลับมาปัตตานีเมื่ออายุเท่าใด
บางท่านเล่าว่า ขณะที่ท่านเดินทางกลับปัตตานีท่านมีอายุราว ๆ 40 ปี
หลังจากกลับมาปัตตานีท่านจึงเข้าสู่พิธีแต่งงาน ภรรยาคนที่หนึ่งชื่อว่า ซาเราะฮ์ บินติ หัจญีอิดรีส เป็นธิดาของหัจญีอิดรีส อับดุลการีม อาจารย์ของท่านขณะอยู่ที่นครมักกะฮ์ ส่วนสถานที่ที่ท่านเข้าสู่พิธีแต่งงานคือ บ้านตะโล๊ะกาโปร์ ยะหริ่ง
3. เปิดปอเนาะตอนที่ท่านได้เข้าสู่พิธีแต่งงาน ท่านได้สร้างที่อยู่อาศัยและปอเนาะดาลอแล้ว บางครั้งเป็นที่รู้จักในนามปอเนาะ ?จืองา บูลู? หลังจากแต่งงานเสร็จ ท่านจึงย้ายไปอยู่ที่ดาลอ ตั้งแต่บัดนั้น ท่านจึงทุ่มเทแรงกายแรงใจบนเส้นทางที่ท่านเลือกไว้ นั่นคือ การเป็นโต๊ะครูปอเนาะ ไม่ปรากฏหลักฐานระบุชัดว่า ปอเนาะแห่งนี้ถูกเปิดตั้งแต่เมื่อใด และไม่มีหลัก ฐานชี้ชัดว่าขณะที่ท่านเปิดปอเนาะนั้น อายุของท่านเท่าใด แต่หากยึดอายุของการแต่งงาน และยึดระยะเวลาที่ท่านกลับมาจากนครมักกะฮ์แล้ว อายุของท่านน่าจะราว ๆ 40 ปี
4. บุคลิกส่วนตัว นับเป็นโต๊ะครูที่มีความถ่อมตน (วาเราะอ์) ชอบประกอบอิบาดะฮ์ ลูกศิษย์ของท่านจำนวนหลายคนประสบผลสำเร็จในการเรียนและมีชื่อเสียงในเวลาต่อ มา
ทานเป็นโต๊ะครูที่มีความเคร่งครัดในหลักคำสอนของศาสนามาก เช่นให้ความสำคัญในเรื่องการสวมใส่หิญาบของเหล่าสตรีมาก หรือมีการกั้นม่ามระหว่างสตรีกับชาย เป็นต้น
มีการบอกเล่ากันว่า ครั้งหนึ่ง หัจญีหุเซ็น เจ๊ะโด จากเคดาห์ ได้มาเยือนปอเนาะของท่าน พอดีภรรยาของโต๊ะครูดาลอนั้นเป็นญาติสนิทกับหัจญีหุเซ็น แต่หลังจากที่หล่อนได้แต่งงานกับดต๊ะดาลอแล้ว ท่านไม่มีโอกาสที่จะเห็นหน้าภรรยาของท่านได้เลย เว้นแต่เพียงพูดจาสนทนากันหลังม่านเท่านั้น ทั้งนี้ เพราะท่านถือว่าระหว่างภรรยาของท่านกับหัจญีหุเซ็นนั้นในทางหลักศาสนาแล้ว ไม่ได้เป็นมะห์รอม
นอกเหนือจากที่ได้กล่าวมา บุคลิกส่วนตัวของท่านยังมีอีกหลายประการเช่น
1. ท่านเป็นคนที่ชอบขี่ม้า เวลาเดินทางไปไหนมาไหนที่มีระยะทางไม่ไกลนัก ท่านมักจะใช้ม้าเป็นพาหนะ นอกจากนั้น ท่านยังมีฝีเท้าวิ่งที่เร็ว ปกติแล้วเด็กปอเนาะที่หนีเรียนมักจะหน้พ้นมือท่านได้
2. ท่านเป็นโต๊ะครูที่มักใส่ยูเบาะฮ์สีขาวเป็นประจำ ไม่ว่าจะอยู่ที่บ้าน หรือเวลาท่านออกไปข้างนอกเพื่อธุระใด ๆ ก็ตาม
3. เป็นคนที่พูดน้อย แต่เวลาท่านพูดแล้ว มักจะพูดดวยความระมัดระวัง และเวลาพูดสีหน้าของท่านมีความสดใส เบิกบาน
4. ระมัดระวังจากสิ่งที่ชุบฮาต ครุมเครือ ด้วยเหตุนี้ ท่นจึงเป็นโค๊ะครูที่ไม่สูบบุหรี่ และนักเรียนของท่านจากการสูบบุหรรี่อย่างเด็ดขาด
5. ท่านมักจะร้องไห้เวลาสอนกิตาบ เมื่อใดที่เนื้อหาของกิตาบกล่าวถึงการทรมานจากอัลลอฮ์ และท่านมะจะละหมาดในตอนกลางคืนเป็นประจำ รวมทั้งเน้นหนักให้นักเรียนมีการละหมาดเป็นญะมาอะฮ์
5. ศานุศิษย์ ศิษย์ของท่านจำนวนมากมาย ซึ่งภายหลังได้กลายเป็นผู้รู้และเปิดปอเนาะสืบต่อจากท่าน ในที่ขอกล่าวเพียงบางท่านเท่านั้น ดังนี้
1. หัจญีอับดุลกอดีร วาเงาะ (โต๊ะเดร์ สะกำ)
2. หัจญีอับดุลหะมีด น้ำบ่อ
3. หัจญีอับดุลเลาะ มัรบะวีย์ (ยะหา)
4. หัจญีอับดุลเลาะ (บึนดัง บาดัง ยะรัง)
5. หัจญีอิสมาอีล มัรบะวีย์ (ยะหา)
6. หัจญีอับดุลหะมีด (ตลาฆอ สมีแล)
7. หัจญียูซุฟ (ตันหยง ปาลัส)
6. เสียชีวิต ท่านเสียชีวิตในตอนเช้าวันพุธที่ 28 เดือนรอญับ ค.ศ. 1975 หากเปรียบเทียบกับอุละมาอ์ก่อนหน้า ถือได้ว่าท่านเป็นคนที่มีอายุยืนกว่าท่านอื่น ๆ ศพของท่านถูกฝังไว้หน้ามัดราซะห์ในบริเวณปอเนาะของท่านเอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น